ห้องปฏิบัติการจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกบการเตรียมสารละลายและการเลือกใช้สารเคมีสําหรับการเตรียมสารละลายให้เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ของการใช้งานแตละประเภทสิ่งสำคัญที่จําเป็นจะต้องรู้เบื้องต้นก่อนเตรียมสารละลายมีดังต่อไปนี้
1. Grade ของสารเคมี
2. หน่วยเเละตัวย่อของหน่วย
3. หน่วยของความเข้มข้นของสารละลายและวิธีการคำนวณ
4. หน่วยของเอ็นไซม์
5. หน่วยของ radioactivity
6. การคำนวนสารละลาย buffer
การคำนวณเป็นร้อยละจากสูตร
ในการคำนวณหามวลร้อยละของธาตุจากสูตรเคมี จะต้องทราบสูตรโมเลกุลของสารประกอบ
และมวลอะตอมของธาตุองค์ประกอบโดยใช้ความสัมพันธ์ดังนี้
ร้อยละของ A ในสารประกอบ = มวลของ A X 100
มวลของสารประกอบ
การคำนวณหาสูตรพิริคัลเเละสูตรโมเลกุล
สูตรเอมพิริคัล = น้ำหนักของสาร A : น้ำหนักของสาร B
มวลอะตอมสาร A : มวลอะตอมสาร B
ในการคำนวณสูตรเอมพิริคัลนั้น จำเป็นต้องทราบข้อมูลต่อไปนี้
- สารนั้นมีธาตุใดเป็นองค์ประกอบ
- ธาตุเหล่านั้นมีมวลอะตอมเท่าใด
- ทราบน้ำหนักของธาตุที่เป็นองค์ประกอบแต่ละชนิด
- คำนวณหาสูตรเอมพิริคัล
- ทราบมวลโมเลกุล
- สูตรโมเลกุล
• ตัวเลขทุกตัวควรมีจุดทศนิยมอย่างน้อย 2 ตำแหน่ง
• การปัดจุดทศนิยม
- 0.1 – 0.2 ปัดทิ้ง
- 0.3 – 0.7 ห้ามปัด
- 0.8 – 0.9 ปัดขึ้น 1
• ให้นำตัวเลขที่น้อยที่สุดหารตลอด
• นำเลขจำนวนเต็มมาคูณจนกระทั่งปัดได้
ตัวอย่าง แก๊สสีน้ำตาลแดง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญในการเกิดมลพิษในอากาศ ประกอบด้วย ไนโตรเจน
2.34 กรัม และ ออกซิเจน 5.34 กรัม จงหาสูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้
วิธีทำ จากโจทย์ เราทราบธาตุองค์ประกอบ , น้ำหนักของธาตุแต่ละชนิด เนื่องจาก มวลอะตอมของ N = 14.00 , มวลอะตอมของ O = 16.00
อัตราส่วน
N : O
2.34 กรัม และ ออกซิเจน 5.34 กรัม จงหาสูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้
วิธีทำ จากโจทย์ เราทราบธาตุองค์ประกอบ , น้ำหนักของธาตุแต่ละชนิด เนื่องจาก มวลอะตอมของ N = 14.00 , มวลอะตอมของ O = 16.00
อัตราส่วน
N : O
2.34 : 5.34
14.0 16.00
0.167 : 0.334
นำเลขตัวน้อยหารตลอด 0.167 : 0.334
0.167 0.167
1.00 : 2.00
14.0 16.00
0.167 : 0.334
นำเลขตัวน้อยหารตลอด 0.167 : 0.334
0.167 0.167
1.00 : 2.00
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ NO 2
________________________________________
ในการหาสูตรโมเลกุล เราจำเป็นต้องทราบสูตรเอมพิริคัล และมวลโมเลกุลของสารนั้นก่อน แล้วจึงทำการหาค่า n และสูตรโมเลกุล จากความสัมพันธ์
มวลโมเลกุล = ( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n
สูตรโมเลกุล = ( สูตรเอมพิริคัล ) n
ถ้า n มีค่า 0.5 ขึ้นไป ปัดขึ้น 1
0.5 ลงมา ปัดทิ้ง
ตัวอย่าง การวิเคราะห์สารประกอบอินทรีย์ชนิดหนึ่ง เพื่อหาปริมาณธาตุองค์ประกอบพบว่า มีคาร์บอน 18.23 % ไฮโดรเจน 2.11 % และ คลอรีน 80.76 % โดยน้ำหนัก ถ้ามวลโมเลกุลของสารนี้เป็น 135 จงหาสูตรโมเลกุล
วิธีทำ สมมติว่า มีสารทั้งหมด 100 กรัม
เนื่องจาก มวลอะตอมของ C = 12.00 , มวลอะตอมของ H = 1.00 ,
มวลอะตอมของ Cl = 35.50
อัตราส่วน C : H : Cl
18.23 : 2.11 : 80.76
12.00 1.00 35.50
1.52 : 2.11 : 2.27
นำเลขตัวน้อยหารตลอด 1.52 : 2.11 : 2.27
1.52 1.52 1.52
1.00 : 1.40 : 1.50
คูณด้วย 2 2 .00 : 3.0 : 3.0
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl 3
จะได้ มวลสูตรเอมพิริคัลของ C 2 H 3 Cl 3 = 13 5 .50
จาก มวลโมเลกุล = ( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n
135.00 = ( 135.50 ) x n
n = 1
สูตรโมเลกุลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl3
วิธีทำ สมมติว่า มีสารทั้งหมด 100 กรัม
เนื่องจาก มวลอะตอมของ C = 12.00 , มวลอะตอมของ H = 1.00 ,
มวลอะตอมของ Cl = 35.50
อัตราส่วน C : H : Cl
18.23 : 2.11 : 80.76
12.00 1.00 35.50
1.52 : 2.11 : 2.27
นำเลขตัวน้อยหารตลอด 1.52 : 2.11 : 2.27
1.52 1.52 1.52
1.00 : 1.40 : 1.50
คูณด้วย 2 2 .00 : 3.0 : 3.0
สูตรเอมพิริคัลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl 3
จะได้ มวลสูตรเอมพิริคัลของ C 2 H 3 Cl 3 = 13 5 .50
จาก มวลโมเลกุล = ( มวลของสูตรเอมพิริคัล ) x n
135.00 = ( 135.50 ) x n
n = 1
สูตรโมเลกุลของแก๊สนี้ คือ C 2 H 3 Cl3
________________________________________________